Diary Note No.4
Substance
กิจกรรมพับกระดาษให้เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์
- อาจารย์แจกกระดาษ A4 มาให้คนล่ะหนึ่งแผ่นจากนั้นนำเสนอรายบุคคล
ซึ่งดิฉันได้สร้างกังหันลมและในความคิดของดิฉันกังหันลมสามารถนำมาสอนเด็กปฐมวัยได้เพราะในการสอนเด็กปฐมววัยเรางสามานรถสอนให้เด็กได้เห็นได้ลงมือทำและปฏิบัติ
- ลม (wind) หมายถึง อากาศที่เคลื่อนที่
- อากาศ (air) หมายถึง สิ่งทีีมองไม่เห็นแต่ มีตัวตน และต้องการที่อยู่ ซึ่งถ้าอากาศเคลื่อนที่จะกลายเป็นลม และลมก็จะทำให้เกิดพลังงาน (energy)
- แสง (light) จะไม่สามารถผ่านวัตุได้ จึงทำให้เกิดเป็นเงา ซึ่งแสงจะเดินทางเป็นเส้นตรง
ทฤษฏีของเพียเจต์ เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
ขบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้าง (Assimilation) หมายถึง การที่เด็กนำเอาความรู้ใหม่ เข้าไปผสมผสากลมกลืนกับครวามรู้เดิมที่มีอยู่
การจัดประขยายโครงสร้าง (Accommodation) หมายถึง การนำความรู้ใหม่ที่ได้รับไปปรับปรุงความคิิดให็เข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
Learning by Doing นักการศึกษาคือ John Dewy
เทคนิคการสอน (Technical Education)
อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลาย
มีการ Ask a question เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดกระบวนการคิด
เริ่มจากหลักการ และนำมาสรุป
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
has been critical thinking skill
has been ask and answer skill
has been creative thinking skill
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประดิษฐ์ของเล่นในหน่วยวิทยาศตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ รวมถึงหลักการสอนต่าง ๆ การบูรณการ อย่างไรเพื่อให้เด็กได้รับความรู้ในเรื่องของวิทยาศาสตร์
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluationอาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เป็นตัวอย่างให้แก่นักศึกษา ในการสอนนั้นอาจารย์ได้เปิดโอกาสให้เด็กได้ตอบคำถาม และมีทักษะการสอนที่หลางหลาย
การเตรียมอุปกรณ์ในการทำกังหันลม
อุปกรณ์
1.กระดาษสี
2.ไม้ไผ่
3.หลอดกาแฟ
4.กาว
วิธีทำ
การเตรียมแกนมือ
นำไม้ไผ่ความยาวประมาณ 20 ซม. มาเหลาให้กลม โดยปรายด้านหนึ่ง ใหญ่กว่าปลายอีกด้านหนึ่ง โดยปลายด้านที่ใหญ่อาจจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 3 มม. ปลายด้านเล็กอาจจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 มม.
การเตรียมตัวกังหันกระดาษ
1.ทำได้โดยนำกระดาษสีที่เตรียมไว้ มาตัดให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ขนาด 10 ซม.
2.ใช้มีดหรือกรรไกรตัดตามแนวเส้นทแยงมุมเข้ามาจากมุมทั้ง 4 ด้าน จนถึงจุดที่ห่างจากจุดศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. จากทุกด้านซึ่งจะทำให้ได้ลักษณะเป็นสามเหลี่ยม 4 อัน โดยแต่ละอันมีฐานอยู่ที่ด้านแต่ละด้านของสี่เหลี่ยมจัตุรัสเดิม แล้วตรงจุดกึ่งกลางนี้ เจาะรูกลมที่เสียบกับไม้แล้วหลวมๆ
3.เจาะรูที่มุมฐานสามเหลี่ยมๆ ละรู
นำหลอดกาแฟ ตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก (ถ้าเป็นกระดาษแข็งอาจตัดเป็นรูปวงกลมก็ได้)จำนวน 2 แผ่น
การประกอบ
1.นำส่วนของหลอดกาแฟสี่เหลี่ยมที่เตรียมไว้เสียบทะลุแกนถือ ดันลึกเข้าไปประมาณ 3 ซม. ให้อัดแน่นกันแกนถือไว้
2.นำแผ่นกระดาษตัวกังหันที่เตรียมไว้ สอดใส่เข้าไปยังปลายแหลมของแกนถือ โดยผ่านรูของกระดาษที่เจาะเตรียมไว้
3.พับส่วนของสามเหลี่ยมที่มีรูมาเสียบเข้ากับแกนถือ เรียงกังไปจนครบทั้งหมด และติดกาวตามชั้นที่ซ้อนทับกัน
4.ท้ายที่สุดนำหลอดกาแฟที่เตรียมไว้อีกแผ่น มาเสียบอัดแน่นกับแกนถือ เหนือกังหันกระดาษอีกชั้นหนึ่ง
การเตรียมตัวกันเลื่อนของกันหัน
นำหลอดกาแฟ ตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก (ถ้าเป็นกระดาษแข็งอาจตัดเป็นรูปวงกลมก็ได้)จำนวน 2 แผ่น
การประกอบ
1.นำส่วนของหลอดกาแฟสี่เหลี่ยมที่เตรียมไว้เสียบทะลุแกนถือ ดันลึกเข้าไปประมาณ 3 ซม. ให้อัดแน่นกันแกนถือไว้
2.นำแผ่นกระดาษตัวกังหันที่เตรียมไว้ สอดใส่เข้าไปยังปลายแหลมของแกนถือ โดยผ่านรูของกระดาษที่เจาะเตรียมไว้
3.พับส่วนของสามเหลี่ยมที่มีรูมาเสียบเข้ากับแกนถือ เรียงกังไปจนครบทั้งหมด และติดกาวตามชั้นที่ซ้อนทับกัน
4.ท้ายที่สุดนำหลอดกาแฟที่เตรียมไว้อีกแผ่น มาเสียบอัดแน่นกับแกนถือ เหนือกังหันกระดาษอีกชั้นหนึ่ง
วิธีเล่น
เด็กมักจะใช้ถือแล้ววิ่งปะทะกับลมทำให้กังหันกระดาษหมุนได้
ดูเพิ่ม http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/18929/
การเตรียมตัวกันเลื่อนของกันหัน
นำหลอดกาแฟ ตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก (ถ้าเป็นกระดาษแข็งอาจตัดเป็นรูปวงกลมก็ได้)จำนวน 2 แผ่น
การประกอบ
1.นำส่วนของหลอดกาแฟสี่เหลี่ยมที่เตรียมไว้เสียบทะลุแกนถือ ดันลึกเข้าไปประมาณ 3 ซม. ให้อัดแน่นกันแกนถือไว้
2.นำแผ่นกระดาษตัวกังหันที่เตรียมไว้ สอดใส่เข้าไปยังปลายแหลมของแกนถือ โดยผ่านรูของกระดาษที่เจาะเตรียมไว้
3.พับส่วนของสามเหลี่ยมที่มีรูมาเสียบเข้ากับแกนถือ เรียงกังไปจนครบทั้งหมด และติดกาวตามชั้นที่ซ้อนทับกัน
4.ท้ายที่สุดนำหลอดกาแฟที่เตรียมไว้อีกแผ่น มาเสียบอัดแน่นกับแกนถือ เหนือกังหันกระดาษอีกชั้นหนึ่ง
วิธีเล่น
เด็กมักจะใช้ถือแล้ววิ่งปะทะกับลมทำให้กังหันกระดาษหมุนได้
ดูเพิ่ม http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/18929/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น