วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558


Diary Note 22 September 2015
Dairy Note No.6
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood




นำเสนอวิจัย


เลขที่ 5 การจัดกิจกรรมการส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เลขที่ 6 การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยในการจััดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์


นำเสนอโทรทัศครู



เลขที่ 7 แรงตึงผิว
เลขที่ 8 สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
เลขที่ 9 จุดประกายนักวิทยาศาสตร์


นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
  1. กลองแขก เป็นการนำเสนอเรื่องของเสียง 
  2. คานหนังสติ๊กเป็นการนำเสนอเรื่องของพลังงาน 
  3. ปี่กระป๋องเป็นการนำเสนอในเรื่องของเสียง 
อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มตามสาระการเรียนรู้ แล้วให้นักศึกษาเลือกเนื้อหาที่จะสอนให้อยู่ในสาระที่เด็กควรจะเรียนรู้


สาระที่ได้คือ สิ่งต่างๆรอบตัว
เรื่องยานพาหนะ
ประเภท


  1. น้ำ ได่แก่ เรือ 
  2. บก ได้แก่ รถจักยานยนต์ รถจักยาน รถยนต์ 
  3. อากาศ ได้สแก่ เครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์
ลักษณะ

  1. บก ได้แก่ เครื่องยนต์ มี 2ล้อ 3 ล้อ 4 ล้อ 
  2. น้ำ ได้แก่ โครงเรือเหล็ก ใบพัด 
  3. อากาศ ได้แก่ ปีก ล้อ 
การรักษาดูแล
  1. ล้างทำความสะอาด 
  2. เช็คลมยาง เช็คสภาพรถ 
  3. ชาตแบตเตอร์รี่ 
  4. ซ่อมแซม 
ข้อควรพึงระวัง

  1. รัดเข็ดขัดนิรภัย 
  2. ใส่หมวกกันน๊อก 
  3. ใส่เสื้อชูชีพ 
  4. ไม่ประมาท 
หลังจาทำกิจกรรมเส็จเพื่อนๆช่วยกันคิดของเล่นที่สามารถใช้ในการจัดการเรียนรู้

  1. ของเล่นทดลอง 
  2. ของเล่นเข้ามุม 
  3. ของเล่นที่เด็กทำได้ 
เทคนิคการสอน (Technical Education)


มีการ Ask a question เพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการทางความคิดเพื่อหาคำตอบ
ใช้สื่อที่ทันสมัยในการสอน โดยการใช้ Power Point
มีการยกตัวอย่างให้นักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น


ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)


Has been ask and answer skill
Has been Critical thinking skill


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)

สามารถนำความรู้ที่ได้เกี่ยวกับทฤษฎีต่าง ๆ และหลักการไปใช้ในการจัดประสบการณ์หรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ตรงตามพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง


ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

ในขณะที่สอนอาจารย์จะยกตัวอย่างเสมอ และถามคำเด็กเพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการคิดและเพื่อให้เด็กเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่

วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Diary Note 15 September 2015
Dairy Note No.5
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood


การทำงานของสมอง

  การทำงานของสมอง ช่วงแรกเกิด - 2ปี เด็กจะใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้วิธีการรับรู้ของเด็ก คือการเล่นโดยการผ่านประสบการณ์จริง ลงมือกระทำจริงผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
 
หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก

กีเซล

พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนไม่ควรเร่งรีบการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากการเคลื่อนไหว การใช้ภาษา (language) การปรับตัวเข้าสู่สังคมบุคคลรองข้างการปฏิบัติการพัฒนาเด็กจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะให้เด็กได้เล่นกลางแจ้งจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ฝึกการใช้มือและประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา จัดกิจกรรมให็เด็กได้ฟัง ได้ท่องจำ นิทาน ร้องเพลง
ฟรอย์ (Freud)
ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเราเมื่อเติบโตการปฏิบัติการพัฒนาเด็กครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กจัดกิจกรรมเป็นขั้นตอนจัดสิ่งแวดล้อม บ้าน และโรงเรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนบุคลิกภาพ
อิริสัน (Erikson)
ถ้าเด็กอยู่ในสังคมที่เด็กพอใจ เด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมั่นถ้าเด็กอยู่ในสงคมที่ไม่ดี เด็กจะมองโลกในแง่แย่ ขาดความไว้วางใจการปฏิบัติการพัฒนาเด็กจัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบความสำเร็จ พึงพอใจในสภาพแวดล้อมที่ดีจัดบรรยากาศในห้องเรียน ให้เด็กได้มีโอกาศ สร้างปฏิสัมพันธ์
ดิวอี้ (Dewey)
เด็กเรียนรู้โดยการกระทำ Learning by doingการปฏิบัติการพัฒนาเด็กจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม ให้ความรัก ให้เวลา และให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง
เปสตาลอสซี่ (Pestalozzi)
ความรักเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ไม่ควรบังคับเด็กการปฏิบัติการพัฒนาเด็กจัดเตรียมความพร้อมให้ความรักให้เวลา
เฟรอเบล (Froeble)
ส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติ
เอลคายน์ (Elkind)
การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตราย เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง จัดบรรยากาสให้เด็กได้มีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมด้วยตัวเองการเรียนรู้อย่างมีความสุขการเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริงการเรียนรู้แบบองค์รวมครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุป
พัฒนาการเด็กให้ครบทุกด้าน เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรราที่จัดต้องมีความสมดุลยึดเด็กเป็นสำคัญและต้องประชาสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ เด็กได้เลือกกิจกรรมที่เด็กสนใจและครูมีหน้าที่จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เอื้ออำนวยกับการเรียนรู้และลงมือกระทำด้วยตนเอง

การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริง
การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริงเรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก การสรุปความคิดรวบยอดกิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

  •  การเปลี่ยนแปลง
  •  ความแตกต่าง 
  •  การปรับตัว
  •  การพึ่งพาอาศัยกัน
  •  ความสมดุล

การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์

  • กำหนดปัญหา
  • ขั้นตั้งสมมุติฐาน
  • ขั้นรวบรวมข้อมูล
  • ขั้นลงข้อสรุป

เจตคติทางวิทยาศาสตร์

  1. ความอยากรู้อยากเห็น
  2. ความเพียรพยายาม
  3. ความมีเหตุผล
  4. ความซื่อสัตย์
  5. ความมีระเบียบและรอบคอล
  6. ความใจกว้าง

เทคนิคการสอน (Technical Education)
มีการ Ask a question เพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการทางความคิดเพื่อหาคำตอบ
ใช้สื่อที่ทันสมัยในการสอน โดยการใช้ Power Pointมีการยกตัวอย่างให้นักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
Has been ask and answer skill
Has been Critical thinking skill
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
สามารถนำความรู้ที่ได้เกี่ยวกับทฤษฎีต่าง ๆ และหลักการไปใช้ในการจัดประสบการณ์หรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ตรงตามพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
ในขณะที่สอนอาจารย์จะยกตัวอย่างเสมอ และถามคำเด็กเพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการคิดและเพื่อให้เด็กเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่